ศูนย์ตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ โดยสำนักข่าว AFP
- บทความนี้มีอายุมากกว่า 1 ปี
- เผยแพร่ วันที่ 7 ตุลาคม 2020 เวลา 11:00
- อัพเดตแล้ว วันที่ 12 พฤษภาคม 2022 เวลา 13:56
- ใช้เวลาอ่านประมาณ 2 นาที
- เขียนโดย: AFP ประเทศไทย
สงวนลิขสิทธิ์ © AFP 2560-2567 การใช้เนื้อหาในลักษณะเชิงพาณิชย์จำเป็นต้องสมัครเป็นสมาชิก ข้อมูลเพิ่มเติม
คำแนะนำเท็จ
คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการป้องกัน รักษา และบรรเทาอาการของโรคโควิด-19 ได้ถูกแชร์ออกไปทุกมุมโลก หลายครั้งมักจะเป็นคำแนะนำจากแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ถึงแม้ว่าในบางครั้งคำแนะนำอาจจะฟังดูมีเหตุผล แต่ได้ถูกส่งต่อพร้อมกับคำกล่าวอ้างที่ไม่สมเหตุสมผล ซึ่งในกรณีนี้ อาจทำให้เกิดอันตรายได้ปัจจุบันยังไม่มียา “รักษา” โรคโควิด-19
ข้อมูลเท็จที่ถูกกล่าวอ้าง ประกอบไปด้วย:
การรักษา: ดื่มชาเขียว // ดื่มน้ำ // กระเทียมต้มสด // น้ำขิงต้ม // วิตามินดี // ฟ้าทะลายโจร
เช่นเดียวกับ: สูบกัญชา // สูบบุหรี่ // แสง UV // กลั้นหายใจเพื่อทดสอบว่าติดเชื้อหรือไม่ // กลั้วคอด้วยน้ำอุ่นผสมเกลือหรือน้ำส้มสายชู
คำกล่าวอ้างว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสื่อกลางในการระบาดของไวรัส: ใส่รองเท้าภายในบ้าน
รายการทั้งหมดอยู่ด้านล่าง หากคุณพบเห็นคำกล่าวอ้างที่ยังไม่ได้รับการยืนยันโปรดตรวจสอบรายการที่อยู่ด้านล่างของหน้านี้
Did you see that great advice on the coronavirus from that doctor? Disinformation on #COVID19 is spreading fast. Don't be duped. Check here for debunks we have done on 'cures' the world over; updated daily. #CoronaVirusFacts https://t.co/FuBRsnM9eC pic.twitter.com/9vU7t6rNax
— AFPFactCheck ? (@AFPFactCheck) March 19, 2020
ข่าวลือและข่าวลวง
ข่าวลือและเรื่องหลอกลวงที่เกี่ยวกับการระบาด
- ประเทศไทยไม่ได้เป็นแชมป์โลกด้านการป้องกันโควิด-19
- ข้อมูลเท็จอ้างว่าการใช้หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าต่อเนื่องจะทำให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรด
- มาตรการเยียวยาโควิด-19 ของมาเลเซีย ไม่ได้ให้ประชาชนใช้ไฟฟ้าฟรี
- คริสเตียโน่ โรนัลโด ไม่ได้เปลี่ยนโรงแรมเป็นโรงพยาบาล
- การใส่รองเท้าเข้าบ้าน ไม่ใช่สาเหตุหลักที่ผู้ป่วยในอิตาลีสูงขึ้น
- องค์การอนามัยโลกไม่ได้ยกระดับการระบาดโควิด-19 ในไทยเป็นระดับ 4
- วัคซีนต้านโควิด-19 ของจีนยังอยู่ในขั้นตอนการทดลอง
- ประชาชนสหรัฐฯ ไม่ได้แห่ซื้อของตุนช่วงการระบาดของโควิด-19
- แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อไม่ได้เป็นเหตุให้ไฟไหม้รถ
- บริษัทสหรัฐฯ กำลังอยู่ในขั้นตอนพัฒนาวัคซีนรักษาโรคโควิด-19
- ผู้นำกัมพูชาไม่ได้ป่วยเป็นโรคโควิด-19 (กุมภาพันธ์ 2563)
- จีนไม่ได้สร้างโรงพยาบาลรองรับผู้ป่วยโควิด-19 ภายใน 16 ชั่วโมง
- ไม่มีรูปแบบการระบาดครั้งใหญ่ที่จะเกิดขึ้นทุกๆ 100 ปี
‘คำแนะนำ’ ที่อ้างอย่างผิดๆ
- กระทรวงสาธารณสุขสิงคโปร์ไม่ได้ออกคำแนะนำเรื่องอาการเบื้องต้นของโรคโควิด-19
- โรงพยาบาลสหรัฐฯ ไม่ได้ออกจดหมายแนะนำให้ดื่มแอลกอฮอล์เพื่อลดโอกาสติดเชื้อโควิด-19
- แพทย์ที่ถูกกล่าวอ้างปฏิเสธไม่มีเขียนข้อมูลเกี่ยวกับโรคโควิด-19
อ่านรายงานทั้งหมดของเราได้ที่นี่
ภาพจริง ผิดบริบท
ภาพที่ถูกตีความอย่างผิดในวิกฤติครั้งนี้:
นายกฯ อังกฤษไม่ได้ชงชาให้นักข่าวหลังหายจากโควิด-19 // นี่เป็นคลิปจากซีรี่ย์เรื่อง Pandemic // นี่เป็นภาพจากประเทศเวเนซูเอลาก่อนโควิด-19 ระบาด // เซเนกัลจัดกกิจกรรมซ้อมรับมือเหตุก่อการร้าย // เหตุการณ์ไฟไหม้อาคารที่ประเทศจีนไม่ได้มีสาเหตุมาจากน้ำยาฆ่าเชื้อแอลกอฮอล์ //
ประชาชนสหรัฐฯ แห่ตุนสินค้า // ชาวมาเลเซียไม่ได้แห่ซื้อสินค้าตุนจากมาตรการปิดเมือง // ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ไม่ได้ล้นออกมาข้างนอกโรงพยาบาลในประเทศอิตาลี // รัสเซียไม่ได้ส่งสิงโตมาลาดตระเวนบนถนน // นี่ไม่ใช่ภาพจากตลาดสดเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน // นี่เป็นวิดีโอการรื้อรังค้างคาวใต้หลังคาบ้าน ที่ประเทศสหรัฐฯ // นี่เป็นละครทีวีที่ออกอากาศในประเทศเม็กซิโกเมื่อ 10 ปีที่แล้ว // ชาวอิตาลีไม่ได้สวดมนต์กลางแจ้งในช่วงโควิดระบาด // เหตุฆ่าตัวตายยกครัวนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการปิดเมืองช่วงโควิด-19 ระบาด // ชาวไนจีเรียไม่ได้มารับอาหารช่วงโควิด-19 ระบาด // วิดีโอนี้เป็นวิดีโอที่จัดฉากโดยตำรวจ ไม่ได้เกิดขึ้นจริงในอินเดีย
อ่านรายงานทั้งหมดของเราได้ที่นี่
ไม่พบสิ่งที่คุณกำลังหาอยู่?
อ่านรายการที่ครอบคลุมรายการที่เกี่ยวข้องกับการระบาดครั้งนี้ทั้งหมดของเราได้ที่นี่
รายงานตรวจสอบข้อเท็จจริงทั้งหมดของทีม AFP แอฟริกา
และรายงานข่าว ภาพถ่าย และวิดีโอทั้งหมดของ AFP เกี่ยวกับวิกฤติที่นี่
เคล็ดลับในการจับผิดข้อมูลเท็จเกี่ยวกับโควิด-19 ที่ถูกแชร์ผ่าน WhatsApp
มีสติ คิดก่อนแชร์
อ่านข้อมูลที่เชื่อถือได้ เกี่ยวกับไวรัสโคโรน่าจากองค์การอนามัยโลกที่นี่
ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ปี 2019 เป็นไวรัสชนิดใหม่ที่พบการติดเชื้อในมนุษย์ครั้งแรกที่เมืองอู่ฮั่นประเทศจีนเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ชื่ออย่างเป็นทางการของไวรัสตัวนี้คือ SARS-CoV-2 โรคโควิด-19 คืออาการป่วยที่เกิดจากไวรัส
AFP เป็นส่วนหนึ่งของพันธมิตรตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ุใหม่ ซึ่งเป็นความร่วมมือของนักข่าวตรวจสอบข้อเท็จจริงมากกว่า 100 คนทั่วโลกที่ร่วมผลิต เผยแพร่ และแปล เนื้อหาที่ได้รับการยืนยันโดยผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวกับโรคโควิด-19 โดยมีเครือข่ายการตรวจสอบข้อเท็จจริงระดับนานาชาติ หรือ IFCN เป็นผู้ริเริ่ม
ทีมตรวจสอบข้อมูลดิจิตอลของสำนักข่าว AFP เป็นการร่วมมือระหว่างนักข่าวและบรรณาธิการมากกว่า 75 คน จาก 32 ประเทศทั่วโลก
พบเนื้อหาที่คุณต้องการให้เอเอฟพีตรวจสอบ?
ติดต่อเรา