Skip to main content
หน้าหลัก
ตรวจสอบข้อเท็จจริง
  • Search
  • ติดต่อ
Main navigation
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเอเอฟพี
  • วิธีการทำงานของเรา
  • มาตรฐานทางจริยธรรมและบรรณาธิการข
  • แนะนำทีม
  • หลักสูตรการฝึกอบรม
  • ข้อเสนอสำหรับสื่อ/องค์กร
  • ติดต่อ
  • การแก้ไข

เลือกภาษา

  • Search
  • ติดต่อ

Politique

ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ สงครามในยูเครน สภาพอากาศ โรคโควิด-19
Thailand เอเชียแปซิฟิก อเมริกาเหนือ แอฟริกา ยุโรป ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การเมือง
ข้อขัดแย้ง
วิทยาศาสตร์
Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 19/03/2564

โพสต์เฟซบุ๊กที่ทำให้เข้าใจผิดนำภาพถ่ายของพระสงฆ์ที่เดินขบวนประท้วงในนครย่างกุ้งในปี 2550 มาแชร์หลังการรัฐประหารของกองทัพในปี 2564

Image
เผยแพร่ วันที่ 11/02/2564

ภาพถ่ายชุดนี้ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ถูกดัดแปลง

Image
เผยแพร่ วันที่ 16/12/2563

ภาพนี้ถูกตัดต่อโดยเพิ่มแถบเครื่องราชฯ และเหรียญกล้าหาญบนเครื่องแบบของอดีตผู้บัญชาการทหารบกของประเทศไทย

Image
เผยแพร่ วันที่ 09/12/2563

ภาพเก่าถูกแชร์พร้อมคำกล่าวอ้างที่ทำให้เข้าใจผิดเกี่ยวกับการประท้วงเรื่องเครื่องแบบนักเรียน

Image
เผยแพร่ วันที่ 18/11/2563

ภาพคนกราบสุนัขทรงเลี้ยงของในหลวงรัชกาลที่ 9 รูปนี้ถูกตัดต่อ

Image
เผยแพร่ วันที่ 26/10/2563

ภาพถ่ายชุดนี้ไม่ได้แสดงภาพของประเทศไทยในยุคของนายกรัฐมนตรีสองคน ทั้งสองภาพนี้เป็นภาพถ่ายของประเทศสิงคโปร์

Image
เผยแพร่ วันที่ 01/10/2563

โพสต์ที่ทำให้เข้าใจผิดถูกแชร์ออนไลน์ว่าคลิปวิดีโอแสดงอดีตนายกรัฐมนตรีพูดเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่

Image
เผยแพร่ วันที่ 01/09/2563

คำกล่าวอ้างที่ทำให้เข้าใจผิดถูกแชร์ในประเทศไทยว่าโรงเรียนแห่งหนึ่งสั่งห้ามนักเรียนร่วมกิจกรรมชู 3 นิ้ว

  • อ่านต่อ