Skip to main content
หน้าหลัก
ตรวจสอบข้อเท็จจริง
  • Search
  • ติดต่อ
Main navigation
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเอเอฟพี
  • วิธีการทำงานของเรา
  • มาตรฐานทางจริยธรรมและบรรณาธิการข
  • แนะนำทีม
  • หลักสูตรการฝึกอบรม
  • ข้อเสนอสำหรับสื่อ/องค์กร
  • ติดต่อ
  • การแก้ไข

เลือกภาษา

  • Search
  • ติดต่อ

รัฐประหารเมียนมา

ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ สงครามในยูเครน สภาพอากาศ โรคโควิด-19
Thailand เอเชียแปซิฟิก อเมริกาเหนือ แอฟริกา ยุโรป ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การเมือง
ข้อขัดแย้ง
วิทยาศาสตร์
Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 19/03/2564

โพสต์เฟซบุ๊กที่ทำให้เข้าใจผิดนำภาพถ่ายของพระสงฆ์ที่เดินขบวนประท้วงในนครย่างกุ้งในปี 2550 มาแชร์หลังการรัฐประหารของกองทัพในปี 2564

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 17/03/2564

นี่เป็นภาพที่แสดงการประท้วงต่อต้านจีนในประเทศเวียดนามในปี 2557 และเหตุการณ์ไฟไหม้โรงงานของไต้หวันในปี 2563

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 17/03/2564

นี่เป็นภาพเหตุการณ์ระเบิดที่ท่อส่งน้ำมันในประเทศอัฟกานิสถาน

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 09/03/2564

นี่เป็นภาพถ่ายของ AFP ที่แสดงสุนัขที่ถูกฆ่าจากนโยบายกำจัดสุนัขจรจัดในปี 2558 ที่ประเทศปากีสถาน ไม่ใช่ประเทศเมียนมาร์

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 26/02/2564

ภาพถ่ายถูกแชร์ในสื่อสังคมออนไลน์ในบริบทที่ทำให้เข้าใจผิด เกี่ยวกับการพบกันของนายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีต่างประเทศเมียนมาร์ในกรุงเทพฯ

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 22/02/2564

ภาพตัดต่อการประท้วงในนครย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์ ถูกแชร์ในสื่อสังคมออนไลน์

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 16/02/2564

ภาพนี้ไม่ได้ถ่ายในประเทศเมียนมาร์ -- นี่เป็นภาพการประท้วงแบล็กไลฟส์แมตเทอร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 09/02/2564

ภาพการประท้วงของบุคลากรทางการแพทย์ที่ออกมาต่อต้านการรัฐประหารของกองทัพเมียนมาร์ถูกตัดต่อ

  • อ่านต่อ