Skip to main content
หน้าหลัก
ตรวจสอบข้อเท็จจริง
  • Search
  • ติดต่อ
Main navigation
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเอเอฟพี
  • วิธีการทำงานของเรา
  • มาตรฐานทางจริยธรรมและบรรณาธิการข
  • แนะนำทีม
  • หลักสูตรการฝึกอบรม
  • ข้อเสนอสำหรับสื่อ/องค์กร
  • ติดต่อ
  • การแก้ไข

เลือกภาษา

  • Search
  • ติดต่อ
ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ สงครามในยูเครน สภาพอากาศ โรคโควิด-19
Thailand เอเชียแปซิฟิก อเมริกาเหนือ แอฟริกา ยุโรป ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การเมือง
ข้อขัดแย้ง
วิทยาศาสตร์
Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 05/04/2564

นี่เป็นภาพที่แสดงการโจมตีทางอากาศของกองทัพเมียนมาร์ในภาคตะวันตกของประเทศในปี 2563 และการซ้อมรบในปี 2561

Image
เผยแพร่ วันที่ 30/03/2564

คำกล่าวอ้างเท็จถูกแชร์ในสื่อสังคมออนไลน์ของประเทศไทยเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19

Image
เผยแพร่ วันที่ 29/03/2564

มุขล้อเลียนในวันเอพริลฟูลที่ระบุว่านิตยสาร TIME ยกให้นายกรัฐมนตรีไทยเป็น ‘ผู้นำที่ดีที่สุดในโลก’ ถูกนำกลับมาแชร์ใหม่บนเฟซบุ๊ก

Image
เผยแพร่ วันที่ 26/03/2564

นี่เป็นภาพถ่ายจากเดือนมีนาคม 2563 ก่อนเกิดกระแสคว่ำบาตรร้านอาหารในปี 2564

Image
เผยแพร่ วันที่ 25/03/2564

นี่เป็นวิดีโอที่แสดงลิงสไลด์ลงบนสายไฟในประเทศอินเดีย

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 23/03/2564

นี่เป็นภาพที่แสดงเหตุการณ์ในประเทศอัฟกานิสถาน ไนจีเรีย และฉากจากภาพยนตร์ ไม่ใช่ภาพในประเทศเมียนมาร์

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 22/03/2564

นี่เป็นฉากจากภาพยนตร์เกาหลีซึ่งออกฉายในปี 2550 - ไม่ใช่ภาพถ่ายในประเทศเมียนมาร์

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 19/03/2564

โพสต์เฟซบุ๊กที่ทำให้เข้าใจผิดนำภาพถ่ายของพระสงฆ์ที่เดินขบวนประท้วงในนครย่างกุ้งในปี 2550 มาแชร์หลังการรัฐประหารของกองทัพในปี 2564

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 17/03/2564

นี่เป็นภาพที่แสดงการประท้วงต่อต้านจีนในประเทศเวียดนามในปี 2557 และเหตุการณ์ไฟไหม้โรงงานของไต้หวันในปี 2563

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 17/03/2564

นี่เป็นภาพเหตุการณ์ระเบิดที่ท่อส่งน้ำมันในประเทศอัฟกานิสถาน

Image
เผยแพร่ วันที่ 12/03/2564

ข่าวลวงเก่าที่แจ้งเตือนให้ปิดโทรศัพท์มือถือเนื่องจากจะมีรังสีคอสมิกผ่านเข้ามาใกล้โลก ได้ถูกนำกลับมาแชร์อีกครั้งในสื่อสังคมออนไลน์ในประเทศไทย

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 09/03/2564

นี่เป็นภาพถ่ายของ AFP ที่แสดงสุนัขที่ถูกฆ่าจากนโยบายกำจัดสุนัขจรจัดในปี 2558 ที่ประเทศปากีสถาน ไม่ใช่ประเทศเมียนมาร์

Image
เผยแพร่ วันที่ 04/03/2564

นี่เป็นคลิปวิดีโอที่แสดงเหตุการณ์ไฟไหม้ที่ตำรวจสันนิษฐานว่าเป็นการลอบวางเพลิงในประเทศมาเลเซีย ไม่ใช่เหตุการณ์ไฟไหม้จากน้ำยาฆ่าเชื้อแอลกอฮอล์

Image
เผยแพร่ วันที่ 03/03/2564

คำกล่าวอ้างที่ทำให้เข้าใจผิดถูกแชร์ออนไลน์ว่า องค์การอนามัยโลกออกคำเตือนเรื่องอันตรายจากการเตรียมอาหารด้วยแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 26/02/2564

ภาพถ่ายถูกแชร์ในสื่อสังคมออนไลน์ในบริบทที่ทำให้เข้าใจผิด เกี่ยวกับการพบกันของนายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีต่างประเทศเมียนมาร์ในกรุงเทพฯ

Image
เผยแพร่ วันที่ 26/02/2564

คำกล่าวอ้างเท็จถูกแชร์ออนไลน์ว่าศาลเลื่อนการอ่านคำพิพากษาของแกนนำกลุ่มกปปส.

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 22/02/2564

ภาพตัดต่อการประท้วงในนครย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์ ถูกแชร์ในสื่อสังคมออนไลน์

Image
โรคโควิด-19
เผยแพร่ วันที่ 18/02/2564

โพสต์ในสื่อสังคมออนไลน์ทำให้คนเข้าใจผิดเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 16/02/2564

ภาพนี้ไม่ได้ถ่ายในประเทศเมียนมาร์ -- นี่เป็นภาพการประท้วงแบล็กไลฟส์แมตเทอร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา

Image
เผยแพร่ วันที่ 11/02/2564

ภาพถ่ายชุดนี้ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ถูกดัดแปลง

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 09/02/2564

ภาพการประท้วงของบุคลากรทางการแพทย์ที่ออกมาต่อต้านการรัฐประหารของกองทัพเมียนมาร์ถูกตัดต่อ

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 05/02/2564

ภาพนี้แสดงเครื่องแบบและอาวุธที่ถูกทิ้งโดยทหารชาวตุรกี ภายหลังความพยายามรัฐประหารในปี 2559

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 03/02/2564

นี่เป็นภาพถ่ายของสำนักข่าว AFP ที่แสดงออง ซาน ซูจี ขณะเธอร่วมงานศพในปี 2560

Image
รัฐประหารเมียนมา
เผยแพร่ วันที่ 03/02/2564

ภาพนี้แสดงมิเชล โหย่ว รับบทแสดงเป็นออง ซาน ซูจี ในภาพยนตร์ปี 2554 เรื่อง “เดอะเลดี้”

Image
โรคโควิด-19
เผยแพร่ วันที่ 01/02/2564

คลิปวิดีโอจากรายงานของสถานีโทรทัศน์ประเทศเยอรมัน ถูกแชร์ในโพสต์ที่ทำให้เข้าใจผิดเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 และบิล เกตส์

Image
วัคซีน
เผยแพร่ วันที่ 26/01/2564

นี่เป็นคลิปวิดีโอการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในประเทศสหรัฐฯ และนางพยาบาลในคลิปไม่ได้เสียชีวิต

Image
เผยแพร่ วันที่ 25/01/2564

นาซาปฎิเสธคำกล่าวอ้างที่ระบุว่าดวงอาทิตย์มีโอกาสจะขึ้นจากทิศตะวันตก

Image
เผยแพร่ วันที่ 22/01/2564

อินฟลูเอนเซอร์ยูทูปปฎิเสธคำกล่าวอ้างเท็จเกี่ยวกับการ “แจกเงินรางวัล”

  • อ่านต่อ