ข่าวเด่น ภูมิภาค หัวข้อ ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ สงครามในยูเครน สภาพอากาศ โรคโควิด-19 Thailand เอเชียแปซิฟิก อเมริกาเหนือ แอฟริกา ยุโรป ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง สุขภาพ สิ่งแวดล้อม การเมือง ข้อขัดแย้ง วิทยาศาสตร์
Image เผยแพร่ วันที่ 11/05/2566 คำกล่าวอ้างว่ากกต.เตรียมปากกาหมึกล่องหนไว้ที่หน่วยเลือกตั้งนั้น “ไม่มีมูลความจริง” กลุ่มสังเกตการณ์กล่าว
Image เผยแพร่ วันที่ 05/05/2566 พรรคฝ่ายค้านตกเป็นเป้าของคำกล่าวอ้างทำให้เข้าใจผิดเกี่ยวกับ “จำนวนคน” ในงานปราศรัยที่ภาคใต้
Image เผยแพร่ วันที่ 05/05/2566 คลิปวิดีโอเก่าของผู้นำกัมพูชาถูกแชร์พร้อมคำกล่าวอ้างที่ทำให้เข้าใจผิดว่า “ฮุนเซน เตรียมประกาศสงครามกับไทย”
Image เผยแพร่ วันที่ 26/04/2566 ภาพเก่าของ ‘หลิวเต๋อหัว’ ถูกนำกลับมาแชร์ใหม่พร้อมคำกล่าวอ้างว่าเขาเดินทางมาร่วมเทศกาลสงกรานต์ที่ไทยในปี 2566
Image เผยแพร่ วันที่ 21/04/2566 ผู้ใช้เฟซบุ๊กในไทยแชร์คำกล่าวอ้างที่ทำให้เข้าใจผิดเกี่ยวกับ XBB สายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน
Image เผยแพร่ วันที่ 20/04/2566 โพสต์เท็จอ้างว่านักมวยไทยซ่อนก้อนหินไว้ในนวมก่อนขึ้นชกกับนักมวยกัมพูชา
Image เผยแพร่ วันที่ 07/04/2566 คำกล่าวอ้างเท็จถูกแชร์ว่าพลเอกประยุทธ์ พยายามเลี่ยง ‘การชูสามนิ้ว’ หลังผู้สมัครของพรรคจับได้เบอร์ 3
Image เผยแพร่ วันที่ 05/04/2566 วัตถุที่ตกใส่รถในวิดีโอไวรัลจากประเทศจีน เป็น ‘ช่อดอกไม้’ ที่มีลักษณะคล้ายหางกระรอก ไม่ใช่ ‘ฝนหนอน’
Image เผยแพร่ วันที่ 31/03/2566 ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับอันตรายจากการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสี ถูกแชร์ในโพสต์ทางสื่อสังคมออนไลน์ในไทย
Image เผยแพร่ วันที่ 31/03/2566 วิดีโอนี้ตรงกับภาพการปล่อยจรวดลองมาร์ชของจีน -- ไม่ใช่ “ดวงอาทิตย์เทียม”
Image เผยแพร่ วันที่ 23/03/2566 ผู้เชี่ยวชาญ: สถานีวิจัยคลื่นวิทยุของสหรัฐฯ ไม่ได้เป็นสาเหตุของแผ่นดินไหวในตุรกีและซีเรีย
Image เผยแพร่ วันที่ 23/03/2566 นี่เป็นวิดีโอพนักงานขนสัมภาระขณะกำลังขโมยทรัพย์สินผู้โดยสารที่สนามบินภูเก็ต ไม่ใช่สุวรรณภูมิ
Image เผยแพร่ วันที่ 16/03/2566 คลิปวิดีโอการปล่อยจรวดสเปซเอ็กซ์ถูกนำโยงกับทฤษฎีสมคบคิดเรื่องแผ่นดินไหวประเทศตุรกี
Image การประท้วงในไทย เผยแพร่ วันที่ 03/03/2566 โพสต์กล่าวโจมตีนักกิจกรรมที่อดอาหารประท้วง ด้วยการแชร์ภาพถ่ายของนักกิจกรรมคนอื่น
Image เผยแพร่ วันที่ 28/02/2566 นี่เป็นภาพถ่ายที่ถูกเผยแพร่มาก่อนเหตุแผ่นดินไหวในประเทศตุรกีและซีเรียในปี 2566
Image เผยแพร่ วันที่ 24/02/2566 โพสต์ปลอมนำวิดีโอเก่าจากจีนมาอ้างว่าเป็นเหตุการณ์หลังแผ่นดินไหวในประเทศตุรกีและซีเรีย
Image วัคซีน เผยแพร่ วันที่ 15/02/2566 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขปฎิเสธคำกล่าวอ้างเท็จที่ระบุว่าไทยเตรียมยกเลิกวัคซีนไฟเซอร์ หลังข่าวปลอมถูกแชร์ไปทั่วโลก
Image เผยแพร่ วันที่ 13/02/2566 ภาพสุนัขกู้ภัยจากปี 2557 กลายเป็นไวรัลอีกครั้งหลังเหตุแผ่นดินไหวที่ตุรกี
Image เผยแพร่ วันที่ 13/02/2566 ภาพถ่ายสุนัขกู้ภัยจากปี 2562 ถูกแชร์ในบริบทที่ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นสุนัขกู้ภัยของไทยที่ถูกส่งไปช่วยเหตุแผ่นดินไหวในตุรกี
Image เผยแพร่ วันที่ 30/01/2566 คลิปวิดีโอนี้แสดงขั้นตอนการผลิตไข่เยี่ยวม้าและไข่เค็มจากประเทศจีน ไม่ใช่คลิปการผลิต ‘ไข่ปลอม’
Image เผยแพร่ วันที่ 17/01/2566 ผู้เชี่ยวชาญเตือนยา ‘สเต็มเซลล์’ ในโฆษณาออนไลน์ไม่สามารถใช้รักษาโรคได้จริง
Image เผยแพร่ วันที่ 13/01/2566 ผู้เชี่ยวชาญเตือนคำกล่าวอ้างเท็จเรื่อง “ดื่มน้ำอุ่นรักษาโรค” ใช้ไม่ได้จริง
Image เผยแพร่ วันที่ 04/01/2566 คลิปวิดีโอเก่าถูกจำลองขึ้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ใช่วิดีโอ “พลุไฟต้อนรับฤดูหนาวของญี่ปุ่น” ในช่วงปีใหม่ 2566
Image เผยแพร่ วันที่ 01/12/2565 ผู้เชี่ยวชาญเตือน มะแว้งนกไม่ใช่ยาสมุนไพร ไม่มีหลักฐานว่ารักษาโรคได้จริง
Image เผยแพร่ วันที่ 07/11/2565 ภาพถ่ายเก่าของอิมราน ข่าน ถูกแชร์ในโพสต์และรายงานข่าวออนไลน์ ภายหลังความพยายามลอบสังหารอดีตผู้นำปากีสถาน