Skip to main content
หน้าหลัก
ตรวจสอบข้อเท็จจริง
  • Search
  • ติดต่อ
Main navigation
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเอเอฟพี
  • วิธีการทำงานของเรา
  • มาตรฐานทางจริยธรรมและบรรณาธิการข
  • แนะนำทีม
  • หลักสูตรการฝึกอบรม
  • ข้อเสนอสำหรับสื่อ/องค์กร
  • ติดต่อ
  • การแก้ไข

เลือกภาษา

  • Search
  • ติดต่อ
ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ สงครามในยูเครน สภาพอากาศ โรคโควิด-19
Thailand เอเชียแปซิฟิก อเมริกาเหนือ แอฟริกา ยุโรป ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การเมือง
ข้อขัดแย้ง
วิทยาศาสตร์
Image
เผยแพร่ วันที่ 22/04/2563

คำกล่าวอ้างเท็จถูกแชร์ผ่านสื่อออนไลน์ว่าการดื่มน้ำอุ่นอย่างสม่ำเสมอจะช่วยป้องกันเชื้อโควิด-19 ได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 21/04/2563

วิดีโอนี้ปรากฏอยู่ในรายงานออนไลน์เกี่ยวกับพายุลูกเห็บที่ประเทศออสเตรเลียในปี 2562

Image
เผยแพร่ วันที่ 20/04/2563

โพสต์ออนไลน์ใช้ภาพเก่าเพื่ออ้างว่าครอบครัวนี้ฆ่าตัวตายเพราะไม่มีอาหารกินจากมาตรการปิดเมืองช่วงโควิด-19 ระบาด

Image
เผยแพร่ วันที่ 17/04/2563

วิดีโอนี้แสดงชาวเปรูสวดมนต์ในปี 2562 ก่อนการระบาดของโรคโควิด-19

Image
เผยแพร่ วันที่ 16/04/2563

ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพปฏิเสธคำกล่าวอ้างปลอมที่ระบุว่าโรคระบาดจะเกิดขึ้นทุกๆ 100 ปี

Image
เผยแพร่ วันที่ 15/04/2563

วิดีโอนี้ได้ถูกเผยแพร่ในรายงานข่าวเกี่ยวกับเทศกาลลดราคาสินค้าที่ประเทศบราซิลในเดือนพฤศจิกายน 2562

Image
เผยแพร่ วันที่ 15/04/2563

โควิด-19 ระบาด: ข้อมูลเท็จได้ถูกแชร์ออกไปว่าตำรวจสามารถปรับบุคคลที่ไม่ใส่หน้ากากอนามัยในที่สาธารณะ

Image
เผยแพร่ วันที่ 14/04/2563

คำกล่าวอ้างปลอมระบุว่ารัฐบาลมาเลเซียมอบเงินให้ประชาชนทุกคนและยกเว้นการชำระค่าใช้ไฟฟ้าระหว่างช่วงโควิด-19 ระบาด

Image
เผยแพร่ วันที่ 14/04/2563

วิดีโอนี้เป็นฉากจากละครของประเทศเม็กซิโกที่ออกอากาศในปี 2553

Image
เผยแพร่ วันที่ 09/04/2563

ข่าวลือออนไลน์อ้างว่าสาเหตุหลักที่ตัวเลขผู้ป่วยโควิด-19 ในประเทศอิตาลีสูงขึ้นเป็นเพราะประชาชนใส่รองเท้าเข้าบ้าน

Image
เผยแพร่ วันที่ 09/04/2563

นี่เป็นภาพจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในประเทศโครเอเชีย ไม่ใช่ภาพผู้ป่วยในประเทศอิตาลี

Image
เผยแพร่ วันที่ 08/04/2563

แพทย์เตือนไม่มีหลักฐานยืนยันว่าการดื่มชาเขียวสามารถช่วยป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 08/04/2563

นี่เป็นภาพจากประเทศแอฟริกาใต้ปี 2559 ในเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการระบาดของไวรัสโคโรน่า

Image
โรคโควิด-19
เผยแพร่ วันที่ 07/04/2563

ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขเตือน การกลั้วคอด้วยน้ำอุ่นผสมเกลือหรือน้ำส้มสายชูไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 06/04/2563

นี่เป็นภาพประกอบข่าวการจับกุมหัวหน้าแก๊งค้ายาเสพติดในประเทศไทย ไม่ใช่ภาพเหยื่อขบวนการค้าอวัยวะ

Image
เผยแพร่ วันที่ 02/04/2563

ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพเผยไม่มีหลักฐานยืนยันว่ากัญชาสามารถเพิ่มภูมิคุ้มกันหรือป้องกันเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ุใหม่ได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 01/04/2563

ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ยืนยันว่าการดื่มน้ำกระเทียมต้มไม่สามารถรักษาหรือว่าป้องกันเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 31/03/2563

พ.ร.ก. ฉุกเฉินที่รัฐบาลไทยประกาศในเดือนมีนาคม 2563 เพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ไม่มีข้อกำหนดเรื่องการประกาศเคอร์ฟิว

Image
เผยแพร่ วันที่ 27/03/2563

องค์การอนามัยโลกโต้แย้งคำกล่าวอ้างว่าองค์การได้ยกระดับระยะการระบาดของเชื้อโควิด-19 เป็นระดับ 4

Image
เผยแพร่ วันที่ 27/03/2563

กระทรวงสาธารณสุขของสิงคโปร์ไม่ได้ออกคำแนะนำเกี่ยวกับอาการช่วงแรกหลังติดเชื้อโควิด-19

Image
เผยแพร่ วันที่ 26/03/2563

นักวิจัยจีนค้นพบวัคซีนต้านเชื้อโควิด-19 แต่วัคซีนยังอยู่ระหว่างการพัฒนาและยังไม่ได้รับการอนุมัติอย่างเป็นทางการ

Image
เผยแพร่ วันที่ 24/03/2563

วิดีโอนี้ถูกเผยแพร่ในเดือนพฤศจิกายนปี พ.ศ. 2562 หลายอาทิตย์ก่อนการระบาดครั้งแรกของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ุใหม่

Image
เผยแพร่ วันที่ 23/03/2563

นี่เป็นวิดีโอเก่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ในรายงานเกี่ยวกับเหตุการณ์ไฟไหม้ภายในรถยนต์ในประเทศซาอุดิอาระเบีย โดยมีสาเหตุมาจากสเปรย์กระป๋องรั่ว

Image
เผยแพร่ วันที่ 20/03/2563

บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพของสหรัฐฯ เผยว่าวัคซีนต้านโควิด-19 ยังอยู่ระหว่างการพัฒนาและยังต้องผ่านการทดลองกับมนุษย์

Image
เผยแพร่ วันที่ 19/03/2563

ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์โต้คำกล่าวอ้างในรายงานที่เข้าใจผิดว่า แสงอัลตราไวโอเล็ตและคลอรีนสามารถฆ่าเชื้อไวรัสโคโรน่าได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 18/03/2563

เจ้าหน้าที่โรงแรมของ คริสเตียโน โรนัลโด ออกมาปฏิเสธข่าวลือว่ามีการเปลี่ยนสถานะจากโรงแรมเป็นโรงพยาบาลรักษาผู้ป่วย COVID-19

Image
เผยแพร่ วันที่ 17/03/2563

จดหมายปลอมอ้างว่าการดื่มแอลกอฮอล์ช่วยลดโอกาสติดเชื้อ COVID-19 ได้

Image
เผยแพร่ วันที่ 16/03/2563

แพทย์เตือนการดื่มน้ำขิงต้มไม่สามารถช่วยรักษาหรือป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่าได้

  • อ่านต่อ